A
Aerobic Energy System
ระบบการใช้พลังงานของร่างกายที่ต้องอาศัยออกซิเจน รวมถึงมีการใช้คาร์โบไฮเดรต กลูโคส ไขมัน และโปรตีนในการผลิตอะดีโนซีน ไตรฟอสเฟต (ATP)
Anaerobic Energy System
ระบบการใช้พลังงานของร่างกายที่ไม่ต้องการออกซิเจน และเป็นแหล่งพลังงานให้กล้ามเนื้อเมื่อพลังงานจากระบบ aerobic energy system ไม่เพียงพอต่อการเคลื่อนไหว
live
verb: dwell, depend, rest, ride, resort
noun: dint
B
Basal Metabolic Rate
อัตราการใช้พลังงานพื้นฐานของร่างกายในขณะพัก เป็นปริมาณพลังงานที่ร่างกายจำเป็นต้องใช้ในการดำรงชีพขั้นพื้นฐาน (ไม่ใช่ขณะหลับ)
C
Closed Kinetic Chain Exercises
Concentric Muscle Contraction
การทำงานของกล้ามเนื้อแบบหดสั้นเข้า เช่น ในท่า Bicep Curl กล้ามเนื้อ Biceps จะทำงานแบบ Concentric ในจังหวะพับข้อศอก
D
Delayed Onset Muscle Soreness (DOMS)
อาการปวดหรือระบมกล้ามเนื้อที่มักเกิดขึ้นประมาณ 1-2 วันหลังการออกกำลังกายหนัก โดยเฉพาะเวทเทรนนิ่ง และอาการจะค่อยๆ ลดลงภายใน 7-10 วัน การกดหรือยืดอาจจะช่วยบรรเทาได้เล็กน้อย
E
Eccentric Muscle Contraction
การทำงานของกล้ามเนื้อแบบยืดยาวออก เช่น ในท่า Bicep Curl กล้ามเนื้อ Biceps จะทำงานแบบ Eccentric ในจังหวะเหยียดข้อศอกและมีการออกแรงต้านร่วมด้วย (ไม่ใช่การปล่อยให้ลงตามแรงโน้มถ่วง)
F
Fast-Twitch Muscle Fiber
เส้นใยกล้ามเนื้อ Type II ที่หดตัวและสร้างแรงได้มากในเวลาสั้นๆ แต่ก็จะหมดแรงได้ง่ายกว่าเส้นใยกล้ามเนื้อ Type I (slow-twitch)
G
Glycolytic Capacity
Golgi Tendon Organ
อวัยวะรับความรู้สึกที่รับรู้การเปลี่ยนแปลงแรงตึงตัว (tension) ของกล้ามเนื้อ
H
Hyperextension
I
Interval Training
การฝึกแบบหนักสลับเบา ส่วนใหญ่เกี่ยวข้องกับการออกกำลังกายแบบ anaerobic แต่บางกรณีก็เป็นแบบ aerobic ได้เช่นกัน ขึ้นอยู่กับความเข้มข้นของการฝึกนั้น
J
Joint
K
Kilocalorie
Kinetic Chain
ความสามารถของร่างกายในการเคลื่อนไหวโดยส่งผ่านแรงกันเป็นทอดๆ จากส่วนต่างๆ ของร่างกาย
L
Lactate Threshold
Lactic Acid
กรดอินทรีย์ที่เกิดขึ้นระหว่างกระบวนการสร้างพลังงานแบบไม่ใช้ออกซิเจน (anaeroic) ซึ่งเป็นกระบวนการที่ทำให้เกิดการสะสมของแลคเตท (Lactate) ในกล้ามเนื้ออย่างรวดเร็ว และบางกรณี Lactic Acid กับ Lactate อาจใช้แทนกันได้
M
Macrocycle
ช่วงของระยะเวลาใหญ่ที่สุดในการวางแผนการฝึกกีฬาอย่างเป็นระบบในระยะยาว (periodization) อาจเป็นระยะเวลาทั้งปีหรือหลายปี
Mesocycle
Microcycle
ช่วงของระยะเวลาเล็กที่สุดในการวางแผนการฝึกกีฬาอย่างเป็นระบบในระยะยาว (periodization) อาจเป็นระยะเวลาตั้งแต่หน่วย “วัน” ไปจนถึง “สัปดาห์”
Motor Unit
Muscle Hypertrophy
N
Neural Adaptation
O
Overtraining
Opened Kinetic Chain Exercises
P
Periodization
Q
Q-Angle (Quadriceps Angle)
มุมที่เกิดจากแนวการวางตัวของกล้ามเนื้อต้นขาด้านหน้า (quadriceps femoris muscle) กับ แนวของเส้นเอ็นบริเวณเข่า (patellar tendon) โดยถ้ามุม Q-Angle < 10 องศาอาจะทำให้เข่าโก่ง หรือถ้า > 20 องศาอาจทำให้เข่าหุบมากกว่าปกติและส่งผลต่อการเคลื่อนไหวจนบาดเจ็บได้
R
Range of Motion (ROM)
S
Slow-Twitch Muscle Fiber
เส้นใยกล้ามเนื้อ Type I พบในกล้ามเนื้อโครงร่างและมีไมโตคอนเดรีย ไมโอโกลบิน รวมถึงเส้นเลือดฝอยจำนวนมาก จึงทำให้ส่วนใหญ่มีสีแดง โดยกล้ามเนื้อชนิดนี้เกี่ยวข้องกับกิจกรรมที่มีลักษณะออกแรงน้อยแต่เป็นระยะเวลานาน
T
Training Frequency
Training Intensity
Training Volume
U
Undulating Periodization
V
VO2max
W
Waist-Hip Ratio (WHR)
X
Xylose
Y
Young Runner’s Heel
Z
Zero Transfer
การถ่ายโอนการเรียนรู้หรือทักษะใดทักษะหนึ่งโดยไม่มีผลกระทบต่อทักษะอื่นๆ หรือสิ่งที่จะเรียนรู้ใหม่ ไม่ว่าจะในทางบวกหรือทางลบก็ตาม